เส้นก๋วยเตี๋ยว เส้นใหญ่ คุณเป็นคนหนักแน่น ทำอะไรทำจริงแบบไม่ดีไม่ได้ไม่เลิก แต่เป็นคนอ่อนไหวอะไรที่มากระทบกับความรู้สึกจะครุ่นคิด วิเคราะห์ หาที่มา บางครั้งทำให้เครียด ไม่ค่อยพูด ตรึกตรอง ทบทวน รักเพื่อน รักสัตว์ ชอบช่วยเหลือแก้ปัญหาให้คนอื่น เส้นเล็ก คุณเป็นคนรวยอารมณ์ขัน รวยเพื่อน รวยมุขฮา เป็นศูนย์รวมเพื่อน คุณไม่ชอบคิดเล็กคิดน้อย แม้ปัญหาหนักๆคุณก็ยิ้มรับมันได้ แต่ค่อยข้างขาดความเชื่อมั่นในตัวเองในบางครั้ง ไม่กล้าชนปัญหาแต่ยิ้มกับปัญหา ค่อนข้างเจ้าชู้เสน่ห์แรงพอตัว รักเพื่อนมากบางครั้งอาจลืมคนไกล้ตัวไปบ้าง เส้นหมี่ คุณเป็นคนเก็บตัว แต่เรียนเก่งชะมัด ใฝ่รู้ ชอบอ่าน ชอบค้นคว้าชนิดหนอนหนังสือยังอาย ร้านหนังสือตามห้างมักได้เงินจากคุณอย่างสม่ำเสมอ โรเเมนติกอยู่คู่กับคุณ คุณเป็นคนปราณีตกับแฟน เอาใจใส่ทุกกระเบียด แต่แฟนของคุณอย่าลืมวันเกิดเชียว คุณจะงอนบึ้งตึงและไม่พูด แฟนคุณกว่าจะเดาอาการคุณออก คุณก็งอนเรื่องใหม่ซะแล้วซิ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
บทที่ 1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
ปัจจุบันเทคโนโลยีและนวัตกรรมได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของมนุษย์ ทั้งในเมืองและชนบทเปลี่ยนแปลงไปตามอิทธิพลของกระแสเทคโนโลยีและนวัตกรรม เนื่องมาจากการพัฒนาระบบการจัดการและความก้าวหน้าของวิทยาการใหม่ๆ ที่ช่วยพัฒนาเครื่องมือวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ให้มีศักยภาพสูงในการใช้งานมากขึ้น
ความหมายของเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (technology) หมายถึง วิทยาการที่นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม
หลักการใช้เทคโนโลยี
การนำเอาเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดควรคำนึงถึงหลักการใช้ที่ถูกต้อง ดังที่ได้เสนอแผนไว้ดังนี้
1.ประสิทธิภาพของงาน (efficiency) ช่วยให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายได้อย่างเที่ยงตรง
2.ประสิทธิผล (productivity) ช่วยให้การทำงานได้ผลผลิตออกมาอย่างเต็มที่
3.ประหยัด (economy) ช่วยประหยัดทั้งเวลาและแรงงานในการทำงาน
เทคโนโลยีกับงานสาขาต่างๆ
การนำเทคโนโลยีไปใช้ในงานสาขาวิชาชีพใด จะช่วยส่งผลให้การดำเนินงานสาขานั้นเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพียงแต่เปลี่ยนชื่อสาขาที่แตกต่างกันเท่านั้น เช่น
เทคโนโลยีทางการทหาร (military technology) หมายถึง กระบวนการ วิธีการ นำเอาความรู้แนวคิดหรือผลิตกรรมทางวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้เป็นระบบเพื่อให้การดำเนินงานทางการทหารเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
เทคโนโลยีทางการแพทย์ (medical technology) หมายถึง กระบวนการ วิธีการนำเอาความรู้แนวคิด หรือผลิตกรรมทางวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้อย่างเป็นระบบเพื่อให้การดำเนินงานทางการแพทย์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
สรุปได้ว่า “เทคโนโลยี” หมายถึง กระบวนการหรือวิธีการในการนำความรู้หรือแนวคิด
มาประยุกต์ใช้อย่างเป็นระบบเพื่อให้การดำเนินงานในวงการต่างๆ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ความหมายทางการศึกษา
คำว่า “การศึกษา” (education) มีความหมายกว้างขวางครอบคลุมการพัฒนา การส่งเสริมมนุษย์และสังคมให้มีความเจริญงอกงามในทุกด้านทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม จึงเสนอตัวอย่างเพียงความหมายของการศึกษาตามความเห็นของนักปรัชญากลุ่มสังคมนิยมและกลุ่มเสรีนิยมไว้ดังนี้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
ปัจจุบันเทคโนโลยีและนวัตกรรมได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของมนุษย์ ทั้งในเมืองและชนบทเปลี่ยนแปลงไปตามอิทธิพลของกระแสเทคโนโลยีและนวัตกรรม เนื่องมาจากการพัฒนาระบบการจัดการและความก้าวหน้าของวิทยาการใหม่ๆ ที่ช่วยพัฒนาเครื่องมือวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ให้มีศักยภาพสูงในการใช้งานมากขึ้น
ความหมายของเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (technology) หมายถึง วิทยาการที่นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม
หลักการใช้เทคโนโลยี
การนำเอาเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดควรคำนึงถึงหลักการใช้ที่ถูกต้อง ดังที่ได้เสนอแผนไว้ดังนี้
1.ประสิทธิภาพของงาน (efficiency) ช่วยให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายได้อย่างเที่ยงตรง
2.ประสิทธิผล (productivity) ช่วยให้การทำงานได้ผลผลิตออกมาอย่างเต็มที่
3.ประหยัด (economy) ช่วยประหยัดทั้งเวลาและแรงงานในการทำงาน
เทคโนโลยีกับงานสาขาต่างๆ
การนำเทคโนโลยีไปใช้ในงานสาขาวิชาชีพใด จะช่วยส่งผลให้การดำเนินงานสาขานั้นเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพียงแต่เปลี่ยนชื่อสาขาที่แตกต่างกันเท่านั้น เช่น
เทคโนโลยีทางการทหาร (military technology) หมายถึง กระบวนการ วิธีการ นำเอาความรู้แนวคิดหรือผลิตกรรมทางวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้เป็นระบบเพื่อให้การดำเนินงานทางการทหารเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
เทคโนโลยีทางการแพทย์ (medical technology) หมายถึง กระบวนการ วิธีการนำเอาความรู้แนวคิด หรือผลิตกรรมทางวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้อย่างเป็นระบบเพื่อให้การดำเนินงานทางการแพทย์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
สรุปได้ว่า “เทคโนโลยี” หมายถึง กระบวนการหรือวิธีการในการนำความรู้หรือแนวคิด
มาประยุกต์ใช้อย่างเป็นระบบเพื่อให้การดำเนินงานในวงการต่างๆ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ความหมายทางการศึกษา
คำว่า “การศึกษา” (education) มีความหมายกว้างขวางครอบคลุมการพัฒนา การส่งเสริมมนุษย์และสังคมให้มีความเจริญงอกงามในทุกด้านทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม จึงเสนอตัวอย่างเพียงความหมายของการศึกษาตามความเห็นของนักปรัชญากลุ่มสังคมนิยมและกลุ่มเสรีนิยมไว้ดังนี้
ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมายว่า เทคโนโลยีการศึกษาเป็นการประยุกต์เอาเทคนิค วิธีการ แนวความคิด อุปกรณ์และเครื่องมือใหม่ๆ มาใช้เพื่อช่วยแก้ปัญหาทางการศึกษาทั้งในด้านการขยายงานและด้านการปรับปรุงคุณภาพของการเรียนการสอน
ความสำคัญของเทคโนโลยีการศึกษา
1. ทำให้มีการเรียนการสอนการจัดการศึกษามีความหมายมากขึ้น
2. สามารถสนองเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ สนองเรื่องความสนใจและความต้องการของแต่ละบุคคลได้เป็นอย่างดี
3. สามารถทำให้การจัดการศึกษาตั้งอยู่บนรากฐานของวิธีการทางวิทยาศาสตร์
4. ช่วยให้การจัดการศึกษามีพลังมากขึ้น มีบทบาทสำคัญในการสอนและการจัดการศึกษา
5. ทำให้การเรียนอยู่แค่เอื้อม นำเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้กับการศึกษาทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างกว้างขวางมากขึ้น
6. ทำให้เกิดความเสมอภาคทางการศึกษา ทำให้โอกาสของทุกคนในการเข้ารีบการศึกษามีมากขึ้น
วิวัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
การนำเทคโนโลยีมาใช้ทางการศึกษามีมาตั้งแต่สมัยก่อนคริสตกาล โดยนักเทคโนโลยีการศึกษาพวกแรกคือ กลุ่มโซฟิสต์ (The Elder Sophist) สอนแบบการบรรยายเพื่อสอนแก่มวลชน ต่อมา โทมัส เอดิสัน (Thomas Edison) ได้ผลิตเครื่องฉายภาพยนตร์ขึ้น
ความหมายของเทคโนโลยีการสอน
เทคโนโลยีการสอนเป็นภาพของการแสวงหาแนวทางและวิธีการปฏิบัติเพื่อพัฒนาการกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ทัศนะเกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษาและเทคโนโลยีการสอน
ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษาและเทคโนโลยีการสอนแตกต่างกันไปตามความเข้าใจ ความเชื่อ และกระแสการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ซึ่งจำแนกเป็น 2 ทัศนะ ได้แก่
1.ทัศนะทางวิทศาสตร์กายภาพ ทัศนะนี้มุ่งเน้นที่วัสดุอุปกรณ์หรือผลิตผลทางวิศวกรรมเป็นสำคัญ
2.ทัศนะทางพฤติกรรมศาสตร์ ทัศนะนี้มุ่งไปที่พฤติกรรมมนุษย์เป็นสำคัญ
ความหมายของนวัตกรรม
นวัตกรรม หมายถึง ความคิดและการกระทำใหม่ ๆที่ผ่านการพิสูจน์และนำเอามาใช้ในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
ความหมายของนวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง ความคิดหรือวิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่ได้ผ่านการพิสูจน์ทดลองจนเป็นที่ยอมรับและเชื่อถือได้ นำมาใช้ในการส่งเสริม ปรับปรุง ระบบและกระบวนการทางการศึกษาให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อสังเกตเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นนวัตกรรม
1. เป็นความคิดหรือการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งที่คิดประดิษฐ์ขึ้นเอง
2. การพิสูจน์ด้วยการวิจัย การทดลองใช้มาก่อน
3. นำวิธีระบบมาใช้ชัดเจน
4. ความคิดหรือกระทำใหม่ๆ
ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยี
นวัตกรรม เป็นคำที่มักจะถูกนำมาใช้ควบคู่กับคำว่า เทคโนโลยีเสมอ ทั้งสองคำมีความหมายและบทบาทคล้ายคลึงกันจึงนำเสนอด้วยแผนภูมิต่อไปนี้
เทคโนโลยี
นวัตกรรม เป้าหมายที่แน่นอน
…แสดงความสัมพันธ์ระหว่างนวัตกรรมกับเทคโนโลยี
สาเหตุที่นำเอาเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ทางการศึกษา
การนำเอาเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ทางการศึกษาเพื่อแก้ปัญหาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านต่างๆ ดังนี้
1. การเพิ่มจำนวนประชากร
2. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม
3 .ความก้าวหน้าด้านวิทยาการใหม่ๆ
ความสำคัญของเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาต่อการเรียนการสอน
1. ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวางและเข้าใจถูกต้องชัดเจนมากขึ้น
2 สนองตอบเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล
3. ทำให้การจัดการศึกษามีคุณภาพสูงขึ้น
4. มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ
5. ทำให้กระบวนการเรียนรู้ไม่เน้นเฉพาะด้านความรู้เพียงอย่างเดียว
6. ช่วยเพิ่มโอกาสทางการศึกษาแก่ประชากรมากขึ้น
แนวคิดในการใช้เทคโนโลยีการศึกษากับการศึกษาไทย
1. คนไทยส่วนใหญ่ไม่นับถือตนเอง การจัดการศึกษาหรือกระบวนการเรียนการสอนในอดีตมีส่วนทำให้คนไทยมีพฤติกรรมเช่นนี้
2. คนไทยส่วนไทยส่วนใหญ่ไม่เห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อม
3. คนไทยส่วนใหญ่ขาดลักษณะพึงประสงค์ตามลักษณะสังคมไทย ส่วนหนึ่งเกิดจากระบบการศึกษาหรือการเรียนการสอนที่ไม่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงออกอย่างเต็มความวสามารถของแต่ละคน
ความหมายว่า เทคโนโลยีการศึกษาเป็นการประยุกต์เอาเทคนิค วิธีการ แนวความคิด อุปกรณ์และเครื่องมือใหม่ๆ มาใช้เพื่อช่วยแก้ปัญหาทางการศึกษาทั้งในด้านการขยายงานและด้านการปรับปรุงคุณภาพของการเรียนการสอน
ความสำคัญของเทคโนโลยีการศึกษา
1. ทำให้มีการเรียนการสอนการจัดการศึกษามีความหมายมากขึ้น
2. สามารถสนองเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ สนองเรื่องความสนใจและความต้องการของแต่ละบุคคลได้เป็นอย่างดี
3. สามารถทำให้การจัดการศึกษาตั้งอยู่บนรากฐานของวิธีการทางวิทยาศาสตร์
4. ช่วยให้การจัดการศึกษามีพลังมากขึ้น มีบทบาทสำคัญในการสอนและการจัดการศึกษา
5. ทำให้การเรียนอยู่แค่เอื้อม นำเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้กับการศึกษาทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างกว้างขวางมากขึ้น
6. ทำให้เกิดความเสมอภาคทางการศึกษา ทำให้โอกาสของทุกคนในการเข้ารีบการศึกษามีมากขึ้น
วิวัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
การนำเทคโนโลยีมาใช้ทางการศึกษามีมาตั้งแต่สมัยก่อนคริสตกาล โดยนักเทคโนโลยีการศึกษาพวกแรกคือ กลุ่มโซฟิสต์ (The Elder Sophist) สอนแบบการบรรยายเพื่อสอนแก่มวลชน ต่อมา โทมัส เอดิสัน (Thomas Edison) ได้ผลิตเครื่องฉายภาพยนตร์ขึ้น
ความหมายของเทคโนโลยีการสอน
เทคโนโลยีการสอนเป็นภาพของการแสวงหาแนวทางและวิธีการปฏิบัติเพื่อพัฒนาการกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ทัศนะเกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษาและเทคโนโลยีการสอน
ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษาและเทคโนโลยีการสอนแตกต่างกันไปตามความเข้าใจ ความเชื่อ และกระแสการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ซึ่งจำแนกเป็น 2 ทัศนะ ได้แก่
1.ทัศนะทางวิทศาสตร์กายภาพ ทัศนะนี้มุ่งเน้นที่วัสดุอุปกรณ์หรือผลิตผลทางวิศวกรรมเป็นสำคัญ
2.ทัศนะทางพฤติกรรมศาสตร์ ทัศนะนี้มุ่งไปที่พฤติกรรมมนุษย์เป็นสำคัญ
ความหมายของนวัตกรรม
นวัตกรรม หมายถึง ความคิดและการกระทำใหม่ ๆที่ผ่านการพิสูจน์และนำเอามาใช้ในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
ความหมายของนวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง ความคิดหรือวิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่ได้ผ่านการพิสูจน์ทดลองจนเป็นที่ยอมรับและเชื่อถือได้ นำมาใช้ในการส่งเสริม ปรับปรุง ระบบและกระบวนการทางการศึกษาให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อสังเกตเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นนวัตกรรม
1. เป็นความคิดหรือการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งที่คิดประดิษฐ์ขึ้นเอง
2. การพิสูจน์ด้วยการวิจัย การทดลองใช้มาก่อน
3. นำวิธีระบบมาใช้ชัดเจน
4. ความคิดหรือกระทำใหม่ๆ
ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยี
นวัตกรรม เป็นคำที่มักจะถูกนำมาใช้ควบคู่กับคำว่า เทคโนโลยีเสมอ ทั้งสองคำมีความหมายและบทบาทคล้ายคลึงกันจึงนำเสนอด้วยแผนภูมิต่อไปนี้
เทคโนโลยี
นวัตกรรม เป้าหมายที่แน่นอน
…แสดงความสัมพันธ์ระหว่างนวัตกรรมกับเทคโนโลยี
สาเหตุที่นำเอาเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ทางการศึกษา
การนำเอาเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ทางการศึกษาเพื่อแก้ปัญหาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านต่างๆ ดังนี้
1. การเพิ่มจำนวนประชากร
2. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม
3 .ความก้าวหน้าด้านวิทยาการใหม่ๆ
ความสำคัญของเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาต่อการเรียนการสอน
1. ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวางและเข้าใจถูกต้องชัดเจนมากขึ้น
2 สนองตอบเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล
3. ทำให้การจัดการศึกษามีคุณภาพสูงขึ้น
4. มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ
5. ทำให้กระบวนการเรียนรู้ไม่เน้นเฉพาะด้านความรู้เพียงอย่างเดียว
6. ช่วยเพิ่มโอกาสทางการศึกษาแก่ประชากรมากขึ้น
แนวคิดในการใช้เทคโนโลยีการศึกษากับการศึกษาไทย
1. คนไทยส่วนใหญ่ไม่นับถือตนเอง การจัดการศึกษาหรือกระบวนการเรียนการสอนในอดีตมีส่วนทำให้คนไทยมีพฤติกรรมเช่นนี้
2. คนไทยส่วนไทยส่วนใหญ่ไม่เห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อม
3. คนไทยส่วนใหญ่ขาดลักษณะพึงประสงค์ตามลักษณะสังคมไทย ส่วนหนึ่งเกิดจากระบบการศึกษาหรือการเรียนการสอนที่ไม่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงออกอย่างเต็มความวสามารถของแต่ละคน
บทที่ 2
วิธีระบบความหมายวิธีระบบหมายถึง วิธีระบบเป็นวิธีการรวมหน่วยย่อยๆ ซึ่งเป็นอิสระจากกันให้มีความสัมพันธ์กันโดยการจัดระเบียบอย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้องค์ประกอบของระบบ1. ข้อมูลป้อนเข้า (input) ได้แก่วัตถุดิบ ข้อมูลดิบ2. กระบวนการ (process) ได้แก่ วิธีการปฏิบัติงานอย่างเป็นขั้นตอนซึ่งเป็นวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีก็ได้3. ผลลัพธ์ (output) ได้แก่ ผลงานที่ได้มาจากข้อมูลป้อนเข้าและกระบวนการซึ่งจะนำไปประเมินผล4. ข้อมูลย้อนกลับ (feedback) ได้แก่ ผลการประเมินการทำงานของระบบ ซึ่งสามารถประเมินย้อนกลับได้ทุกขั้นตอนขั้นตอนการจัดระบบขั้นตอนการจัดการ1. ขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบ1.1 เคราะห์แนวทางการปฏิบัติ (mission analysis) คือการพิจารณาทิศทางที่จะดำเนินการจุดมุ่งหมายของระบบ เพื่อบรรลุตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้1.2 วิเคราะห์หน้าที่ (functional analysis) เป็นการกำหนดหน้าที่โดยละเอียดตามที่กำหนดไว้ในแนวทางการปฏิบัติงาน1.3 วิเคราะห์งาน (task analysis) กำหนดไว้ในขั้นวิเคราะห์หน้าที่ และงาน1.4 วิเคราะห์วิธีการและสื่อ (methods-means analysis) เป็นการกำหนดหลักการปฏิบัติ กลวิธีและสื่อที่จะนำไปสู่จุดมุ่งหมาย2 ขั้นการสังเคราะห์ระบบวิธีการสังเคราะห์ระบบ (system synthesis) ช่วยให้มีสมดุลของขั้นตอนต่างๆ ในการแก้ปัญหามีขั้นย่อยดังนี้2.1 การเลือกวิธีการหรือกลวิธี2.2 การแก้ปัญหา2.3 การประเมินผลประสิทธิภาพการดำเนินงาน3.ขั้นการสร้างแบบจำลองวิธีการเขียนแบบจำลอง อาจเขียนได้หลายแบบ3.1 แบบจำลองแนวนอน3.2 แบบจำลองแนวตั้ง3.3 แบบจำลองแนวนอนผสมแนวตั้ง3.4 แบบจำลองแบบวงกลมหรือวงรี3.5 แบบจำลองกึ่งแผนภาพกึ่งรูปภาพ3.6 แบบจำลองเชิงคณิตศาสตร์หรือคอมพิวเตอร์4. ขั้นการจำลองสถานการณ์เพื่อปรับปรุงหรือแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ระบบก่อนนำไปใช้จริงวิธีระบบในการเรียนการสอน1. ระบบการเรียนการสอนของเกอร์ลาชและอีชี1.1 การกำหนดจุดมุ่งหมาย1.2 การกำหนดเนื้อหา1.3 การประเมินพฤติกรรมเบื้องต้น1.4 การกำหนดกลยุทธวิธีการสอน1.5 การจัดแบ่งกลุ่มผู้เรียน1.6 การกำหนดเวลาเรียน1.7 การจัดสถานที่เรียน1.8 การเลือกสรรทรัพยากร1.9 การประเมิน1.1 0การวิเคราะห์ผลย้อนกลับ2. ระบบการผลิตชุดการสอนแผนจุฬา3. ระบบการสอนตามแนวพุทธวิธีวิธีระบบกับสื่อการเรียนการสอน1. การผลิตสื่อ2 .การใช้สื่อ3. การเก็บรักษาสื่อบทสรุปวิธีระบบเป็นผลของการรวมหน่วยย่อยๆ ซึ่งเป็นอิสระจากกันให้มีความสัมพันธ์กัน โดยการจัดระเบียบและสร้างสรรค์เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
วิธีระบบความหมายวิธีระบบหมายถึง วิธีระบบเป็นวิธีการรวมหน่วยย่อยๆ ซึ่งเป็นอิสระจากกันให้มีความสัมพันธ์กันโดยการจัดระเบียบอย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้องค์ประกอบของระบบ1. ข้อมูลป้อนเข้า (input) ได้แก่วัตถุดิบ ข้อมูลดิบ2. กระบวนการ (process) ได้แก่ วิธีการปฏิบัติงานอย่างเป็นขั้นตอนซึ่งเป็นวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีก็ได้3. ผลลัพธ์ (output) ได้แก่ ผลงานที่ได้มาจากข้อมูลป้อนเข้าและกระบวนการซึ่งจะนำไปประเมินผล4. ข้อมูลย้อนกลับ (feedback) ได้แก่ ผลการประเมินการทำงานของระบบ ซึ่งสามารถประเมินย้อนกลับได้ทุกขั้นตอนขั้นตอนการจัดระบบขั้นตอนการจัดการ1. ขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบ1.1 เคราะห์แนวทางการปฏิบัติ (mission analysis) คือการพิจารณาทิศทางที่จะดำเนินการจุดมุ่งหมายของระบบ เพื่อบรรลุตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้1.2 วิเคราะห์หน้าที่ (functional analysis) เป็นการกำหนดหน้าที่โดยละเอียดตามที่กำหนดไว้ในแนวทางการปฏิบัติงาน1.3 วิเคราะห์งาน (task analysis) กำหนดไว้ในขั้นวิเคราะห์หน้าที่ และงาน1.4 วิเคราะห์วิธีการและสื่อ (methods-means analysis) เป็นการกำหนดหลักการปฏิบัติ กลวิธีและสื่อที่จะนำไปสู่จุดมุ่งหมาย2 ขั้นการสังเคราะห์ระบบวิธีการสังเคราะห์ระบบ (system synthesis) ช่วยให้มีสมดุลของขั้นตอนต่างๆ ในการแก้ปัญหามีขั้นย่อยดังนี้2.1 การเลือกวิธีการหรือกลวิธี2.2 การแก้ปัญหา2.3 การประเมินผลประสิทธิภาพการดำเนินงาน3.ขั้นการสร้างแบบจำลองวิธีการเขียนแบบจำลอง อาจเขียนได้หลายแบบ3.1 แบบจำลองแนวนอน3.2 แบบจำลองแนวตั้ง3.3 แบบจำลองแนวนอนผสมแนวตั้ง3.4 แบบจำลองแบบวงกลมหรือวงรี3.5 แบบจำลองกึ่งแผนภาพกึ่งรูปภาพ3.6 แบบจำลองเชิงคณิตศาสตร์หรือคอมพิวเตอร์4. ขั้นการจำลองสถานการณ์เพื่อปรับปรุงหรือแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ระบบก่อนนำไปใช้จริงวิธีระบบในการเรียนการสอน1. ระบบการเรียนการสอนของเกอร์ลาชและอีชี1.1 การกำหนดจุดมุ่งหมาย1.2 การกำหนดเนื้อหา1.3 การประเมินพฤติกรรมเบื้องต้น1.4 การกำหนดกลยุทธวิธีการสอน1.5 การจัดแบ่งกลุ่มผู้เรียน1.6 การกำหนดเวลาเรียน1.7 การจัดสถานที่เรียน1.8 การเลือกสรรทรัพยากร1.9 การประเมิน1.1 0การวิเคราะห์ผลย้อนกลับ2. ระบบการผลิตชุดการสอนแผนจุฬา3. ระบบการสอนตามแนวพุทธวิธีวิธีระบบกับสื่อการเรียนการสอน1. การผลิตสื่อ2 .การใช้สื่อ3. การเก็บรักษาสื่อบทสรุปวิธีระบบเป็นผลของการรวมหน่วยย่อยๆ ซึ่งเป็นอิสระจากกันให้มีความสัมพันธ์กัน โดยการจัดระเบียบและสร้างสรรค์เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
บทที 3
กระบวนการสื่อสารมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตตลอดชีวิต การดำเนินกิจกรรมต่างๆ ต้องอาศัยการสื่อสารเป็นปัจจัยหลัก ดังนั้นการสื่อสารจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับครูผู้สอนหรือผู้เกี่ยวข้องกับกระบวนการเรียนการสอนความหมายของการสื่อสารการสื่อสารหมายถึง กกระบวนการส่งข่าวสารข้อมูลต่างๆ หรือการถ่ายทอดความรู้ เนื้อหา สาระ ความรู้สึก เจตคติ ทักษะจากผู้ส่งไปยังผู้รับด้วยการใช้ถ้อยคำ กริยาท่าทางหรือสัญลักษณ์ ซึ่งมีผลทำให้เกิดความเข้าใจและความรู้สึกร่วมกันหน้าที่ของกระบวนการสื่อสาร1. การสื่อสารในฐานะเครื่องมือให้ได้สิ่งที่ต้องการ2. การสื่อสารเพื่อควบคุมสั่งการ3. การสื่อสารเพื่อสร้างความสัมพันธ์4. การสื่อสารส่วนบุคคล5. การสื่อสารเพื่อเสาะแสวงหาคำตอบ6. การสื่อสารเพื่อสร้างจินตนาการรูปแบบของการสื่อสารแต่ละรูปแบบมีลักษณะสลับซับซ้อนแตกต่างกันขึ้นอยู่กับปัจจัยหรือองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นลักษณะของผู้ส่งและผู้รับ การรู้จักเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสมกับแต่ละโอกาสจะช่วยให้กระบวนการสื่อสารแต่ละครั้งประสบผลสำเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพรูปแบบของการสื่อสารจำแนกได้ดังนี้1. การจำแนกตามลักษณะของการสื่อสาร1.1 การสื่อสารด้วยภาษา เป็นภาษาที่ไม่ใช่ลายลักษณ์อักษร1.2 การสื่อสารด้วยภาษาท่าทางหรือสัญญาณ เป็นภาษาที่ไม่ใช่คำพูดหรือการเปล่งเสียงหรือเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ1.3 การสื่อสารด้วยภาษาภาพ ภาษาที่เกิดจากการขีดเขียนเป็นรูปภาพ2. จำแนกตามปฏิสัมพันธ์ของผู้รับและผู้ส่ง2.1 สื่อสารทางตรง เป็นการสื่อสารที่ผู้ส่งและผู้รับมีปฏิสัมพันธ์กันและกันโดยตรงเนื้อหาและวัตถุประสงค์2.2 การสื่อสารทางอ้อม เป็นการสื่อสารที่อาศัยสื่อหรือวิธีการต่างๆ เป็นพาหนะในการถ่ายทอดเนื้อหา3. จำแนกตามพฤติกรรมในการโต้ตอบ3.1 การสื่อสารทางเดียว เป็นสื่อสารที่ผู้ส่งเป็นกระทำแต่ฝ่ายเดียว3.2 การสื่อสารสองทาง เป็นการสื่อสารที่ผู้ส่งและผู้รับมีโอกาสโต้ตอบกันได้ทันทวงที4. จำแนกตามจำนวนของผู้ร่วมสื่อสาร4.1 การสื่อสารในตนเอง ตัวเองเป็นผู้ส่งและผู้รับในขณะเดียวกัน4.2 การสื่อสารระหว่างบุคคล สื่อสารระหว่างบุคคล 2 คน อาจแลกเปลี่ยนบทบาทเป็นผู้ส่งและผู้รับ4.3 การสื่อสารแบบกลุ่มบุคคล มีจำนวนผู้ส่งและผู้รับมากกว่าการสื่อสารระหว่างบุคคล4.4 การสื่อสารมวลชน การสื่อสารกับกลุ่มชนจำนวนมากกมายมหาศาลอุปสรรคในการสื่อสาร1. ผู้ส่งสารขาดความสามารถ2. ความบกพร่องของสื่อหรือช่องทาง3. ผู้รับสารขาดความรู้ความชำนาญเรื่องที่จะรับ4. อุปสรรคจากสิ่งรบกวน ภายนอกและภายใน5. สารมีความยาวไม่เหมาะสม6. ผู้ส่งและผู้รับมีความแตกต่างในด้านภาษาการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพเป็นการสื่อสารแบบสองทางผู้ส่งและผู้รับสามารถโต้ตอบกันได้ทันทีทันใด เนื้อหาเรื่องราวต้องเหมาะกับธรรมชาติของผู้รับการสื่อสารกับการรับรู้และการเรียนรู้การรับรู้ สิ่งเร้าที่ผ่านอวัยวะรับสัมผัสทั้งหลายรับข้อมูลข่าวสารในระยะแรกนำเข้าสู่สมอง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเดิมไปสู่ พฤติกรรมใหม่ ที่ค่อนข้างถาวรซึ่งเรียกว่า การเรียนรู้แบบจำลองของการสื่อสาร1. แบบจำลองของลาสเวลล์2. แบบจำลองของแวนนอนและวีเวอร์3. แบบจำลองของ-เบอร์โล4. แบบจำลองการสื่อสารของบาร์นลันด์การสื่อสารในการเรียนการสอนควรคำนึงถึงกระบวนการสื่อสารระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน การปรับใช้การสื่อสารกับกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและความล้มเหลวของการสื่อสารในกระบวนการเรียนการสอน1. กระบวนการสื่อสารในการเรียนการสอน เป็นรูปแบบของการสื่อสารระหว่างครูผู้สอนหรือสื่ออื่นๆ2. ลักษณะการสื่อสารระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน3. การปรับใช้การสื่อสารกับกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ4. ความล้มเหลวของการสื่อสารในกระบวนการเรียนการสอนบทสรุปการสื่อสารกระบวนการถ่ายทอดเนื้อหาและความรู้สึกนึกคิดประกอบด้วย ผู้ส่งเนื้อหา สาระ สื่อหรือช่องทางและผู้รับการสื่อสารมีความสัมพันธ์กับการรับรู้และการเรียนรู้ มีจุดประสงค์และกระบวนการเหมือนกัน
กระบวนการสื่อสารมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตตลอดชีวิต การดำเนินกิจกรรมต่างๆ ต้องอาศัยการสื่อสารเป็นปัจจัยหลัก ดังนั้นการสื่อสารจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับครูผู้สอนหรือผู้เกี่ยวข้องกับกระบวนการเรียนการสอนความหมายของการสื่อสารการสื่อสารหมายถึง กกระบวนการส่งข่าวสารข้อมูลต่างๆ หรือการถ่ายทอดความรู้ เนื้อหา สาระ ความรู้สึก เจตคติ ทักษะจากผู้ส่งไปยังผู้รับด้วยการใช้ถ้อยคำ กริยาท่าทางหรือสัญลักษณ์ ซึ่งมีผลทำให้เกิดความเข้าใจและความรู้สึกร่วมกันหน้าที่ของกระบวนการสื่อสาร1. การสื่อสารในฐานะเครื่องมือให้ได้สิ่งที่ต้องการ2. การสื่อสารเพื่อควบคุมสั่งการ3. การสื่อสารเพื่อสร้างความสัมพันธ์4. การสื่อสารส่วนบุคคล5. การสื่อสารเพื่อเสาะแสวงหาคำตอบ6. การสื่อสารเพื่อสร้างจินตนาการรูปแบบของการสื่อสารแต่ละรูปแบบมีลักษณะสลับซับซ้อนแตกต่างกันขึ้นอยู่กับปัจจัยหรือองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นลักษณะของผู้ส่งและผู้รับ การรู้จักเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสมกับแต่ละโอกาสจะช่วยให้กระบวนการสื่อสารแต่ละครั้งประสบผลสำเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพรูปแบบของการสื่อสารจำแนกได้ดังนี้1. การจำแนกตามลักษณะของการสื่อสาร1.1 การสื่อสารด้วยภาษา เป็นภาษาที่ไม่ใช่ลายลักษณ์อักษร1.2 การสื่อสารด้วยภาษาท่าทางหรือสัญญาณ เป็นภาษาที่ไม่ใช่คำพูดหรือการเปล่งเสียงหรือเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ1.3 การสื่อสารด้วยภาษาภาพ ภาษาที่เกิดจากการขีดเขียนเป็นรูปภาพ2. จำแนกตามปฏิสัมพันธ์ของผู้รับและผู้ส่ง2.1 สื่อสารทางตรง เป็นการสื่อสารที่ผู้ส่งและผู้รับมีปฏิสัมพันธ์กันและกันโดยตรงเนื้อหาและวัตถุประสงค์2.2 การสื่อสารทางอ้อม เป็นการสื่อสารที่อาศัยสื่อหรือวิธีการต่างๆ เป็นพาหนะในการถ่ายทอดเนื้อหา3. จำแนกตามพฤติกรรมในการโต้ตอบ3.1 การสื่อสารทางเดียว เป็นสื่อสารที่ผู้ส่งเป็นกระทำแต่ฝ่ายเดียว3.2 การสื่อสารสองทาง เป็นการสื่อสารที่ผู้ส่งและผู้รับมีโอกาสโต้ตอบกันได้ทันทวงที4. จำแนกตามจำนวนของผู้ร่วมสื่อสาร4.1 การสื่อสารในตนเอง ตัวเองเป็นผู้ส่งและผู้รับในขณะเดียวกัน4.2 การสื่อสารระหว่างบุคคล สื่อสารระหว่างบุคคล 2 คน อาจแลกเปลี่ยนบทบาทเป็นผู้ส่งและผู้รับ4.3 การสื่อสารแบบกลุ่มบุคคล มีจำนวนผู้ส่งและผู้รับมากกว่าการสื่อสารระหว่างบุคคล4.4 การสื่อสารมวลชน การสื่อสารกับกลุ่มชนจำนวนมากกมายมหาศาลอุปสรรคในการสื่อสาร1. ผู้ส่งสารขาดความสามารถ2. ความบกพร่องของสื่อหรือช่องทาง3. ผู้รับสารขาดความรู้ความชำนาญเรื่องที่จะรับ4. อุปสรรคจากสิ่งรบกวน ภายนอกและภายใน5. สารมีความยาวไม่เหมาะสม6. ผู้ส่งและผู้รับมีความแตกต่างในด้านภาษาการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพเป็นการสื่อสารแบบสองทางผู้ส่งและผู้รับสามารถโต้ตอบกันได้ทันทีทันใด เนื้อหาเรื่องราวต้องเหมาะกับธรรมชาติของผู้รับการสื่อสารกับการรับรู้และการเรียนรู้การรับรู้ สิ่งเร้าที่ผ่านอวัยวะรับสัมผัสทั้งหลายรับข้อมูลข่าวสารในระยะแรกนำเข้าสู่สมอง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเดิมไปสู่ พฤติกรรมใหม่ ที่ค่อนข้างถาวรซึ่งเรียกว่า การเรียนรู้แบบจำลองของการสื่อสาร1. แบบจำลองของลาสเวลล์2. แบบจำลองของแวนนอนและวีเวอร์3. แบบจำลองของ-เบอร์โล4. แบบจำลองการสื่อสารของบาร์นลันด์การสื่อสารในการเรียนการสอนควรคำนึงถึงกระบวนการสื่อสารระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน การปรับใช้การสื่อสารกับกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและความล้มเหลวของการสื่อสารในกระบวนการเรียนการสอน1. กระบวนการสื่อสารในการเรียนการสอน เป็นรูปแบบของการสื่อสารระหว่างครูผู้สอนหรือสื่ออื่นๆ2. ลักษณะการสื่อสารระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน3. การปรับใช้การสื่อสารกับกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ4. ความล้มเหลวของการสื่อสารในกระบวนการเรียนการสอนบทสรุปการสื่อสารกระบวนการถ่ายทอดเนื้อหาและความรู้สึกนึกคิดประกอบด้วย ผู้ส่งเนื้อหา สาระ สื่อหรือช่องทางและผู้รับการสื่อสารมีความสัมพันธ์กับการรับรู้และการเรียนรู้ มีจุดประสงค์และกระบวนการเหมือนกัน
บทที่ 4.
.........สื่อการสอนสื่อการเป็นองค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่ง สื่อการสอนเป็นตัวกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ง่ายขึ้น ทำให้มีการรับรู้และการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพผู้เรียนสามารถเรียนได้มากขึ้นแต่เสียเวลาน้อยลงความหมายของสื่อการสอนหมายถึง วัสดุอุปกรณ์หรือวิธีการใดๆ ที่นำมาใช้ประกอบการเรียนการสอนเป็นตัวกลางหรือตัวเชื่อมในการถ่ายทอด ประสบการณ์ไปยังผู้เรียนคุณค่าของสื่อการสอน1. คุณค่าวิชาการ2. คุณค่าด้านจิตวิทยาการเรียนรู3. คุณค่าด้านเศรษฐกิจการศึกษาคุณสมบัติของการสื่อสาร1. สามารถจับยึดประสบการณ์ การกระทำที่ผ่านไปอย่างรวดเร็วไว้ได้อย่างคงทน2. สามารถจัดแจงให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน3. สามารถแจกจ่ายและขยายจำนวนของสื่อออกเป็นหลายฉบับ เพื่อเผยแพร่ไปสู่ผู้เรียนจำนวนมากและสามารถใช้ซ้ำๆ กันได้หลายๆ ครั้งตามความต้องการประเภทของการสื่อสารสื่อการสอนครูนำมาใช้ประกอบการเรียนการสอนมีหลากหลายชนิด การจำแนกประเภทของการสื่อสารสอนเป็นหมวดหมู่จึงทำได้หลายวิธีโดยใช้เกณฑ์ต่างกัน1. การจำแนกตามคุณสมบัติของสื่อ1.1 วัสดุ เป็นสื่อเล็กหรือสื่อเบาๆ บางที่เรียกว่า ซอฟแวร์1.2 อุปกรณ์ เป็นสื่อใหญ่หรือสื่อหนัก บางที่นิยมเรียกว่า ฮาร์ดแวร์1.3 วิธีการ เทคนิค หรือกิจกรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีโอกาสมีส่วนร่วมในการกระบวนการเรียนการสอนมากที่สุด2. การจำแนกตามแบบของสื่อ2.1 สิ่งพิมพ์ เป็นสื่อที่บรรลุเนื้อหาในรูปของตัวหนังสือเป็นหลัก2.2 วัสดุกราฟิก เป็นสื่อที่แสดงเนื้อหาข้อความและรูปภาพ2.3 วัสดุและเครื่องฉาย เป็นสื่อที่บรรจุเนื้อหาและข้อความและรูปภาพลงในวัสดุฉายแล้วนำเสนอโดยผ่านเครื่องฉายต่างๆ2.4 วัสดุถ่ายทอดเสียง เป็นสื่อที่นำเสนอเนื้อหาด้วยเสียง3. การจำแนกตามประสบการณ์หลักการเลือกและใช้สื่อการสอน1. การเลือก1.1 การเลือกใช้สื่อตามวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้1.2 การเลือกใช้สื่อตามระดับคุณค่าของสื่อ1.3 การเลือกใช้สื่อตามขนาดของกลุ่มผู้เรียน2. การเตรียม2.1 การเตรียมครู ได้แก่ ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม พิจารณาสิ่งที่เป็นปัญหาในการสอนแล้วแก้ไข2.2 การเตรียมผู้เรียน อธิบายให้ผู้เรียนทราบล่วงหน้าจะมีกิจกรรมอะไร ผู้เรียนควรทราบล่วงหน้า กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ2.3 การเตรียมชั้นเรียน จัดโต๊ะเก้าอี้ของผู้เรียนให้เพียงพอ ให้ทุกคนสามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน ให้เป็นระเบียบและเรียงตามลำดับ3. ขั้นการใช้หรือการแสดง4. ขั้นติดตามผลข้อดีและข้อจำกัดของสื่อสารการเรียนการสอน1. สื่อการสอนประเภทที่ไม่ต้องใช้เครื่องฉาย1.1 สิ่งพิมพ์ต่างๆ เป็นวิธีการเรียนรู้ที่ดีที่ดีที่สุดสำหรับผู้ที่ความถนัดในการอ่าน1.2 ของจริง ของตัวอย่างมีข้อดีคือ แสดงเนื้อหาสาระที่เป็นจริงได้ตามสภาพของสิ่งนั้น1.3 หุ่นจำลอง มีข้อดีคือ มีลักษณะเป็น 3 มิติ สามารถจับต้องและพิจารณารายละเอียดได้1.4 วัสดุกราฟิก ช่วยแสดงความสัมพันธ์ของเนื้อหาให้สามารถเปรียบเทียบได้1.5 กระดานชอล์ก มีข้อดี คือ ต้นทุนในการผลิตและการใช้ต่ำ พื้นที่มีขนาดใหญ่1.6 กระดานแม่เหล็ก มีข้อดีคือ สามารถนำเนื้อหาหรือรูปภาพที่ใช้แล้วกลับมาใช้ได้อีก2. สื่อการสอนประเภทที่ต้องใช้กับเครื่องฉาย2.1 แผ่นโปร่งใส2.2 สไลด์2.3 ฟิล์มสตริม2.4 ภาพยนตร์ วีดิทัศน์2.5 โทรทัศน์ วงจรเปิด2.6 โทรทัศน์ วงจรปิด3. สื่อการสอนประเภทวัสดุอิเล็กทรอนิกส์3.1 แผ่นซีดี คอมแพ็คดิสก์3.2 ซีดี-รอม3.3 แผ่นซีดี-รอมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน3.4 วิทยุกระจายเสียง3.5 สื่อประสม4. สื่อการสอนประเภทกิจกรรมหรือวิธีการ4.1 การศึกษานอกสถานที่4.2 การสาธิต4.3 การจัดนิทรรศการ4.4 การแสดงบทบาทสมมุติบทสรุปสื่อการสอน หมายถึง วัสดุอุปกรณ์หรือวิธีการใดๆ ที่ครูนำมาประกอบการเรียนการสอน เพื่อช่วยให้เกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
.........สื่อการสอนสื่อการเป็นองค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่ง สื่อการสอนเป็นตัวกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ง่ายขึ้น ทำให้มีการรับรู้และการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพผู้เรียนสามารถเรียนได้มากขึ้นแต่เสียเวลาน้อยลงความหมายของสื่อการสอนหมายถึง วัสดุอุปกรณ์หรือวิธีการใดๆ ที่นำมาใช้ประกอบการเรียนการสอนเป็นตัวกลางหรือตัวเชื่อมในการถ่ายทอด ประสบการณ์ไปยังผู้เรียนคุณค่าของสื่อการสอน1. คุณค่าวิชาการ2. คุณค่าด้านจิตวิทยาการเรียนรู3. คุณค่าด้านเศรษฐกิจการศึกษาคุณสมบัติของการสื่อสาร1. สามารถจับยึดประสบการณ์ การกระทำที่ผ่านไปอย่างรวดเร็วไว้ได้อย่างคงทน2. สามารถจัดแจงให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน3. สามารถแจกจ่ายและขยายจำนวนของสื่อออกเป็นหลายฉบับ เพื่อเผยแพร่ไปสู่ผู้เรียนจำนวนมากและสามารถใช้ซ้ำๆ กันได้หลายๆ ครั้งตามความต้องการประเภทของการสื่อสารสื่อการสอนครูนำมาใช้ประกอบการเรียนการสอนมีหลากหลายชนิด การจำแนกประเภทของการสื่อสารสอนเป็นหมวดหมู่จึงทำได้หลายวิธีโดยใช้เกณฑ์ต่างกัน1. การจำแนกตามคุณสมบัติของสื่อ1.1 วัสดุ เป็นสื่อเล็กหรือสื่อเบาๆ บางที่เรียกว่า ซอฟแวร์1.2 อุปกรณ์ เป็นสื่อใหญ่หรือสื่อหนัก บางที่นิยมเรียกว่า ฮาร์ดแวร์1.3 วิธีการ เทคนิค หรือกิจกรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีโอกาสมีส่วนร่วมในการกระบวนการเรียนการสอนมากที่สุด2. การจำแนกตามแบบของสื่อ2.1 สิ่งพิมพ์ เป็นสื่อที่บรรลุเนื้อหาในรูปของตัวหนังสือเป็นหลัก2.2 วัสดุกราฟิก เป็นสื่อที่แสดงเนื้อหาข้อความและรูปภาพ2.3 วัสดุและเครื่องฉาย เป็นสื่อที่บรรจุเนื้อหาและข้อความและรูปภาพลงในวัสดุฉายแล้วนำเสนอโดยผ่านเครื่องฉายต่างๆ2.4 วัสดุถ่ายทอดเสียง เป็นสื่อที่นำเสนอเนื้อหาด้วยเสียง3. การจำแนกตามประสบการณ์หลักการเลือกและใช้สื่อการสอน1. การเลือก1.1 การเลือกใช้สื่อตามวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้1.2 การเลือกใช้สื่อตามระดับคุณค่าของสื่อ1.3 การเลือกใช้สื่อตามขนาดของกลุ่มผู้เรียน2. การเตรียม2.1 การเตรียมครู ได้แก่ ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม พิจารณาสิ่งที่เป็นปัญหาในการสอนแล้วแก้ไข2.2 การเตรียมผู้เรียน อธิบายให้ผู้เรียนทราบล่วงหน้าจะมีกิจกรรมอะไร ผู้เรียนควรทราบล่วงหน้า กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ2.3 การเตรียมชั้นเรียน จัดโต๊ะเก้าอี้ของผู้เรียนให้เพียงพอ ให้ทุกคนสามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน ให้เป็นระเบียบและเรียงตามลำดับ3. ขั้นการใช้หรือการแสดง4. ขั้นติดตามผลข้อดีและข้อจำกัดของสื่อสารการเรียนการสอน1. สื่อการสอนประเภทที่ไม่ต้องใช้เครื่องฉาย1.1 สิ่งพิมพ์ต่างๆ เป็นวิธีการเรียนรู้ที่ดีที่ดีที่สุดสำหรับผู้ที่ความถนัดในการอ่าน1.2 ของจริง ของตัวอย่างมีข้อดีคือ แสดงเนื้อหาสาระที่เป็นจริงได้ตามสภาพของสิ่งนั้น1.3 หุ่นจำลอง มีข้อดีคือ มีลักษณะเป็น 3 มิติ สามารถจับต้องและพิจารณารายละเอียดได้1.4 วัสดุกราฟิก ช่วยแสดงความสัมพันธ์ของเนื้อหาให้สามารถเปรียบเทียบได้1.5 กระดานชอล์ก มีข้อดี คือ ต้นทุนในการผลิตและการใช้ต่ำ พื้นที่มีขนาดใหญ่1.6 กระดานแม่เหล็ก มีข้อดีคือ สามารถนำเนื้อหาหรือรูปภาพที่ใช้แล้วกลับมาใช้ได้อีก2. สื่อการสอนประเภทที่ต้องใช้กับเครื่องฉาย2.1 แผ่นโปร่งใส2.2 สไลด์2.3 ฟิล์มสตริม2.4 ภาพยนตร์ วีดิทัศน์2.5 โทรทัศน์ วงจรเปิด2.6 โทรทัศน์ วงจรปิด3. สื่อการสอนประเภทวัสดุอิเล็กทรอนิกส์3.1 แผ่นซีดี คอมแพ็คดิสก์3.2 ซีดี-รอม3.3 แผ่นซีดี-รอมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน3.4 วิทยุกระจายเสียง3.5 สื่อประสม4. สื่อการสอนประเภทกิจกรรมหรือวิธีการ4.1 การศึกษานอกสถานที่4.2 การสาธิต4.3 การจัดนิทรรศการ4.4 การแสดงบทบาทสมมุติบทสรุปสื่อการสอน หมายถึง วัสดุอุปกรณ์หรือวิธีการใดๆ ที่ครูนำมาประกอบการเรียนการสอน เพื่อช่วยให้เกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บทที่ 5.
.........สื่อการสอนประเภทวัสดุสื่อการสอนประเภทวัสดุเป็นสื่อที่มีประโยชน์และคุณค่าต่อการเรียนการสอน ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้เป็นอย่างดีความหมายของสื่อการสอนประเภทวัสดุคำว่า “วัสดุ” ตรงกับคำว่าภาษาอังกฤษว่า materal ซึ่งจอห์น ซินแคลร์ ให้ความหมายว่าวัสดุ หมายถึง สิ่งที่มีคุณสมบัติ แข็งแรง ควบแน่น เป็นสารหรือสสารอาจเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นมาสื่อการสอนประเภทวัสดุ หมายถึง สิ่งที่ช่วยสอนที่มีการผุพัง สิ้นเปลือง เช่น ฟิล์ม ภาพถ่าย ภาพยนตร์ สไลด์ และสิ่งของราคาสิ่งของหรือสสารที่ถูกนำมาใช้งานจะมีคุณสมบัติต่างๆ กันบางอย่างก็แข็งแรง บางอย่างก็ยืดหยุ่นดี บางอย่างแข็งเปราะ บางอย่างมีความทนทานสูง แต่บางอย่างฉีกแตกหักชำรุดเสียหายได้ง่าย เมื่อนำวัสดุเหล่านี้มาใช้ประกอบการเรียนการสอนจึงเรียกว่า “สื่อการสสอนประเภทวัสดุ” หรือ “สื่อวัสดุ” ซึ่งเป็นสื่อขนาดเล็กมีศักยภาพในการบรรลุเก็บเนื้อหาและถ่ายทอดความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งเป็น สื่อขนาดเล็กมีศักยภาพในการบรรลุเก็บเนื้อหาและถ่ายทอดความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพประเภทของสื่อวัสดุสื่อประเภทของวัสดุที่ใช้กับการเรียนการสอนในปัจจุบัน แบ่งได้เป็น 3 ประเภทได้แก่สื่อวัสดุกราฟิก มีลักษณะเป็นวัสดุ 2 มิติ รูปร่างแบบแบนบางไม่มีความหนา มีองค์ประกอบสำคัญคือ รูปภาพ ตัวหนังสือสื่อวัสดุ 3 มิติ เป็นสื่อที่สร้างมาจากวัสดุต่างๆ สามารถตั้งแสดงได้ด้วยตัวเองที่นิยมใช้กับกระบวนการเรียนการสอนเช่น หุ่นจำลองสื่อวัสดุอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสื่อที่ใช้กับเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ มีทั้งประเภทเสียงอย่างเดียวและประเภทที่มีทั้งภาพและเสียงอยู่ด้วยกัน เช่นเทปบันทึกเสียง เทปวีดิทัศน์สื่อวัสดุกราฟิก1. ความหมายของวัสดุกราฟิกวัสดุกราฟิก หมายถึง สื่อการเรียนการสอนที่มีองค์ประกอบสำคัญคืองานกราฟิกได้แก่ ภาพเขียนทั้งทีเป็นภาพสี ภพขาวดำ ตัวหนังสือ เสนและสัญลักษณ์2. คุณค่าของวัสดุกราฟิกวัสดุกราฟิกเป็นสื่อวัสดุ 2 มิติ ที่ผู้เรียนสามารถรับรู้ได้ทางตาซึ่งถือว่าเป็นอวัยวะที่ปริมาณการรับรู้มากที่สุดเมื่อเทียบกับกี่รับรู้ด้วยประสาทรับสัมผัสด้านอื่นๆ สื่อวัสดุกราฟิกที่เห็นได้โดยทั่วไปมากกมายรูปแบบ เช่น โปสเตอร์ หนังสือ วารสาร3. ประโยชน์ของวัสดุกราฟิกคือ ช่วยให้ผู้เรียนและผู้สอนเข้าใจเนื้อหาบทเรียนได้ตรงกัน ช่วยให้ผู้เรียนรู้ได้ดีกว่าการฟังคำบรรยายเพียงอย่างเดียว ช่วยอธิบายสิ่งที่ยากให้เข้าใจความหมายได้ง่ายขึ้น ประหยัดเวลาการเรียนรู้4. ลักษณะของวัสดุกราฟิกที่ดีคือ ตรงกับเนื้อหาและวัตถุประสงค์ของบทเรียนมีรูปแบบง่ายต่อการเรียนรู้และการทำความเข้าใจ ไม่ยุ่งยากสลับซับซ้อนสื่อความหมายได้รวดเร็วชัดเจน5. การออกแบบวัสดุกราฟิกคือ เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน ตรงตามเนื้อหาและวัตถุประสงค์ของบทเรียน การออกแบบวัสดุกราฟิกต้องคำนึงถึงการสื่อความหมายเป็นสำคัญ นอกจากนี้ควรคำนึงถึงความเหมาะสมในการออกแบบ6. ข้อดีและข้อจำกัดของวัสดุกราฟิกสื่อวัสดุกราฟิกมีข้อดีต่อกระบวนการเรียนการสอนและการเรียนรู้ดังนี้ คือ แสดงเนื้อหานามธรรมที่ยากต่อความเข้าใจให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น สามารถผลิตได้ง่ายไม่จำเป็นต้องอาศัยความชำนาญเป็นพิเศษส่วนข้อจำกัดของวัสดุกราฟิกได้แก่ ใช้ได้กับเป้าหมายขนาดเล็กเท่านั้น การออกแบบและการผลิตไม่ดีอาจทำให้ผู้เรียนเข้าใจยาก7. ประเภทของวัสดุกราฟิก7.1 ประเภทของวัสดุกราฟิก7.1.1 แผนภูมิ (chats) มีองค์ประกอบเป็นสัญลักษณ์รูปภาพ และตัวอักษร7.1.1.1 แผนภูมิต้นไม้7.1.2 แผนภูมิแบบสายธาร7.13 แผนภูมิแบบต่อเนื่อง7.1.4 แผนภูมิแบบองค์การ7.1.5 แผนภูมิแบบเปรียบเทียบ7..1.6 แผนภูมิแบบตาราง7.1.7 แผนภูมิแบบวิวัฒนาการ7.1.8 แผนภูมิแบบอธิบายภาพ7.2 แผนสถิติ (graphs) สื่อความหมายในเชิงปริมาณและตัวเลข7.2.1 ชนิดของแผนสถิติ เปรียบเทียบหรือปริมาณของข้อมูลชุดหนึ่งๆ จะนำเสนอในรูปแบบของแผนสถิติแบบใดก็ได้7.2.1.1 แผนสถิติแบบเส้น ข้อมูลที่แสดงความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง7.2.1 .2 แผนสถิติแบบแท่ง ใช้เปรียบเทียบข้อมูลด้วย การเทียบ เคียงกันเป็นคู่ๆ หรือเป็นชุด7.2.1.3 แผนสถิติแบบวงกลม ใช้เปรียบเทียบอัตราส่วนของส่วนประกอบต่างๆ ว่าเป็นเท่าไร7.2.1.4 แผนสถิติแบบรูปภาพ เป็นการแปลงข้อมูลเป็นรูปภาพหรือสัญลักษณ์7.2.1.5 แผนสถิติแบบพื้นที่ ช่วยให้เห็นความสัมพันธ์ของข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว โดยการแบ่งพื้นที่ทั้งหมดออกเป็นส่วนๆ ทุกส่วนเมื่อรวมกันแล้วจะมีค่าเท่ากับปริมาณรวมทั้งหมด7.3 แผนภาพ แสดงให้เห็นส่วนประกอบต่างๆ ของสิ่งของหรือของระบบงาน7.4 ภาพพลิก7.5 ภาพชุด7.6 แผนภาพ7.7 ภาพโฆษณา7.8 แผนโปร่งใสสื่อวัสดุ 3 มิติ1. ความหมายของสื่อวัสดุ 3 มิติหมายถึง สื่อที่ผลิตจากวัสดุที่มีความกว้างขวาง ความยาว ความหนาลึก2. ประเภทของสื่อวัสดุ 3 มิติ2.1 หุ่นจำลอง (models) เป็นทัศนวัสดุชนิดหนึ่งที่สร้างขึ้นเพื่อเลียนแบบของจริง ใช้ในการถ่ายทอดความรู้แทนของจริงในกรณีที่ของจริงมีข้อจำกัดไม่สามารถนำมาแสดงได้2.2 ของจรอง (real objects) หมายถึง สิ่งเร้าต่างๆ ที่มีภาพเป็นของเดิมแท้ๆ ของสิ่งนั้นอาจเป็นสิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติ ผู้เรียนสามารถรับรู้และเรียนรู้ของจริงได้ด้วยประสาทรับสัมผัสทั้ง 52.3 ป้ายนิเทศ (bulletin boards) เป็นวัสดุที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่เมื่อเปรียบเทียบกับสื่อทัศนวัสดุอื่นๆ ใช้แสดงเรื่องราวต่างๆ ด้วยวัสดุต่างๆ ด้วยวัสดุหลายชนิด ลักษณะของป้ายนิเทศที่ดีมีเนื้อหาแนวคิดและตรงวัตถุประสงค์ มีจุดสนใจหลักเพียงจุดเดียว2.4 ตู้อันตรทัศน์ (diorama) เป็นทัศนวัสดุที่ออกแบบเป็นสื่อ 3 มิติเลียนแบบธรรมชาติหรือบรรยากาศสิ่งแวดล้อมที่เป็นของจริง กระตุ้นความสนใจได้ดีสื่อวัสดุอิเล็กทรอนิกส์1. ความหมายของสื่อวัสดุอิเล็กทรอนิกส์วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ เป็นส่วนหนึ่งของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นการเปลี่ยนรูปแบบการนำเสนอบทเรียนจากเอกสาร ตำรา ให้อยู่ในรูปของสื่อการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์2. ประเภทของสื่อวัสดุอิเล็กทรอนิกส์2.1 เทปบรรทุกเสียง ใช้บันทึกเสียงในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า2.2 เทปวิดีทัศน์ ใช้บันทึกภาพและเสียง2.3 แผ่นซีดี2.4 แผ่นวีซีดี2.5 แผ่นดีวีดี2.6 แผ่นเอสวีซีดี2.7 แผ่นเอ็กซ์วีซีดี2.8 แผ่นเอ็กเอสวีซีดีบทสรุปสื่อประเภทวัสดุ เป็นสื่อที่มีขนาดเล็กสามารถเก็บบรรจุความรู้และประสบการณ์ไว้เป็นอย่างดีบางชนิดสามารถสื่อความหมายหรือถ่ายทอดความรู้ได้ด้วยตนเอง
.........สื่อการสอนประเภทวัสดุสื่อการสอนประเภทวัสดุเป็นสื่อที่มีประโยชน์และคุณค่าต่อการเรียนการสอน ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้เป็นอย่างดีความหมายของสื่อการสอนประเภทวัสดุคำว่า “วัสดุ” ตรงกับคำว่าภาษาอังกฤษว่า materal ซึ่งจอห์น ซินแคลร์ ให้ความหมายว่าวัสดุ หมายถึง สิ่งที่มีคุณสมบัติ แข็งแรง ควบแน่น เป็นสารหรือสสารอาจเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นมาสื่อการสอนประเภทวัสดุ หมายถึง สิ่งที่ช่วยสอนที่มีการผุพัง สิ้นเปลือง เช่น ฟิล์ม ภาพถ่าย ภาพยนตร์ สไลด์ และสิ่งของราคาสิ่งของหรือสสารที่ถูกนำมาใช้งานจะมีคุณสมบัติต่างๆ กันบางอย่างก็แข็งแรง บางอย่างก็ยืดหยุ่นดี บางอย่างแข็งเปราะ บางอย่างมีความทนทานสูง แต่บางอย่างฉีกแตกหักชำรุดเสียหายได้ง่าย เมื่อนำวัสดุเหล่านี้มาใช้ประกอบการเรียนการสอนจึงเรียกว่า “สื่อการสสอนประเภทวัสดุ” หรือ “สื่อวัสดุ” ซึ่งเป็นสื่อขนาดเล็กมีศักยภาพในการบรรลุเก็บเนื้อหาและถ่ายทอดความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งเป็น สื่อขนาดเล็กมีศักยภาพในการบรรลุเก็บเนื้อหาและถ่ายทอดความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพประเภทของสื่อวัสดุสื่อประเภทของวัสดุที่ใช้กับการเรียนการสอนในปัจจุบัน แบ่งได้เป็น 3 ประเภทได้แก่สื่อวัสดุกราฟิก มีลักษณะเป็นวัสดุ 2 มิติ รูปร่างแบบแบนบางไม่มีความหนา มีองค์ประกอบสำคัญคือ รูปภาพ ตัวหนังสือสื่อวัสดุ 3 มิติ เป็นสื่อที่สร้างมาจากวัสดุต่างๆ สามารถตั้งแสดงได้ด้วยตัวเองที่นิยมใช้กับกระบวนการเรียนการสอนเช่น หุ่นจำลองสื่อวัสดุอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสื่อที่ใช้กับเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ มีทั้งประเภทเสียงอย่างเดียวและประเภทที่มีทั้งภาพและเสียงอยู่ด้วยกัน เช่นเทปบันทึกเสียง เทปวีดิทัศน์สื่อวัสดุกราฟิก1. ความหมายของวัสดุกราฟิกวัสดุกราฟิก หมายถึง สื่อการเรียนการสอนที่มีองค์ประกอบสำคัญคืองานกราฟิกได้แก่ ภาพเขียนทั้งทีเป็นภาพสี ภพขาวดำ ตัวหนังสือ เสนและสัญลักษณ์2. คุณค่าของวัสดุกราฟิกวัสดุกราฟิกเป็นสื่อวัสดุ 2 มิติ ที่ผู้เรียนสามารถรับรู้ได้ทางตาซึ่งถือว่าเป็นอวัยวะที่ปริมาณการรับรู้มากที่สุดเมื่อเทียบกับกี่รับรู้ด้วยประสาทรับสัมผัสด้านอื่นๆ สื่อวัสดุกราฟิกที่เห็นได้โดยทั่วไปมากกมายรูปแบบ เช่น โปสเตอร์ หนังสือ วารสาร3. ประโยชน์ของวัสดุกราฟิกคือ ช่วยให้ผู้เรียนและผู้สอนเข้าใจเนื้อหาบทเรียนได้ตรงกัน ช่วยให้ผู้เรียนรู้ได้ดีกว่าการฟังคำบรรยายเพียงอย่างเดียว ช่วยอธิบายสิ่งที่ยากให้เข้าใจความหมายได้ง่ายขึ้น ประหยัดเวลาการเรียนรู้4. ลักษณะของวัสดุกราฟิกที่ดีคือ ตรงกับเนื้อหาและวัตถุประสงค์ของบทเรียนมีรูปแบบง่ายต่อการเรียนรู้และการทำความเข้าใจ ไม่ยุ่งยากสลับซับซ้อนสื่อความหมายได้รวดเร็วชัดเจน5. การออกแบบวัสดุกราฟิกคือ เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน ตรงตามเนื้อหาและวัตถุประสงค์ของบทเรียน การออกแบบวัสดุกราฟิกต้องคำนึงถึงการสื่อความหมายเป็นสำคัญ นอกจากนี้ควรคำนึงถึงความเหมาะสมในการออกแบบ6. ข้อดีและข้อจำกัดของวัสดุกราฟิกสื่อวัสดุกราฟิกมีข้อดีต่อกระบวนการเรียนการสอนและการเรียนรู้ดังนี้ คือ แสดงเนื้อหานามธรรมที่ยากต่อความเข้าใจให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น สามารถผลิตได้ง่ายไม่จำเป็นต้องอาศัยความชำนาญเป็นพิเศษส่วนข้อจำกัดของวัสดุกราฟิกได้แก่ ใช้ได้กับเป้าหมายขนาดเล็กเท่านั้น การออกแบบและการผลิตไม่ดีอาจทำให้ผู้เรียนเข้าใจยาก7. ประเภทของวัสดุกราฟิก7.1 ประเภทของวัสดุกราฟิก7.1.1 แผนภูมิ (chats) มีองค์ประกอบเป็นสัญลักษณ์รูปภาพ และตัวอักษร7.1.1.1 แผนภูมิต้นไม้7.1.2 แผนภูมิแบบสายธาร7.13 แผนภูมิแบบต่อเนื่อง7.1.4 แผนภูมิแบบองค์การ7.1.5 แผนภูมิแบบเปรียบเทียบ7..1.6 แผนภูมิแบบตาราง7.1.7 แผนภูมิแบบวิวัฒนาการ7.1.8 แผนภูมิแบบอธิบายภาพ7.2 แผนสถิติ (graphs) สื่อความหมายในเชิงปริมาณและตัวเลข7.2.1 ชนิดของแผนสถิติ เปรียบเทียบหรือปริมาณของข้อมูลชุดหนึ่งๆ จะนำเสนอในรูปแบบของแผนสถิติแบบใดก็ได้7.2.1.1 แผนสถิติแบบเส้น ข้อมูลที่แสดงความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง7.2.1 .2 แผนสถิติแบบแท่ง ใช้เปรียบเทียบข้อมูลด้วย การเทียบ เคียงกันเป็นคู่ๆ หรือเป็นชุด7.2.1.3 แผนสถิติแบบวงกลม ใช้เปรียบเทียบอัตราส่วนของส่วนประกอบต่างๆ ว่าเป็นเท่าไร7.2.1.4 แผนสถิติแบบรูปภาพ เป็นการแปลงข้อมูลเป็นรูปภาพหรือสัญลักษณ์7.2.1.5 แผนสถิติแบบพื้นที่ ช่วยให้เห็นความสัมพันธ์ของข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว โดยการแบ่งพื้นที่ทั้งหมดออกเป็นส่วนๆ ทุกส่วนเมื่อรวมกันแล้วจะมีค่าเท่ากับปริมาณรวมทั้งหมด7.3 แผนภาพ แสดงให้เห็นส่วนประกอบต่างๆ ของสิ่งของหรือของระบบงาน7.4 ภาพพลิก7.5 ภาพชุด7.6 แผนภาพ7.7 ภาพโฆษณา7.8 แผนโปร่งใสสื่อวัสดุ 3 มิติ1. ความหมายของสื่อวัสดุ 3 มิติหมายถึง สื่อที่ผลิตจากวัสดุที่มีความกว้างขวาง ความยาว ความหนาลึก2. ประเภทของสื่อวัสดุ 3 มิติ2.1 หุ่นจำลอง (models) เป็นทัศนวัสดุชนิดหนึ่งที่สร้างขึ้นเพื่อเลียนแบบของจริง ใช้ในการถ่ายทอดความรู้แทนของจริงในกรณีที่ของจริงมีข้อจำกัดไม่สามารถนำมาแสดงได้2.2 ของจรอง (real objects) หมายถึง สิ่งเร้าต่างๆ ที่มีภาพเป็นของเดิมแท้ๆ ของสิ่งนั้นอาจเป็นสิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติ ผู้เรียนสามารถรับรู้และเรียนรู้ของจริงได้ด้วยประสาทรับสัมผัสทั้ง 52.3 ป้ายนิเทศ (bulletin boards) เป็นวัสดุที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่เมื่อเปรียบเทียบกับสื่อทัศนวัสดุอื่นๆ ใช้แสดงเรื่องราวต่างๆ ด้วยวัสดุต่างๆ ด้วยวัสดุหลายชนิด ลักษณะของป้ายนิเทศที่ดีมีเนื้อหาแนวคิดและตรงวัตถุประสงค์ มีจุดสนใจหลักเพียงจุดเดียว2.4 ตู้อันตรทัศน์ (diorama) เป็นทัศนวัสดุที่ออกแบบเป็นสื่อ 3 มิติเลียนแบบธรรมชาติหรือบรรยากาศสิ่งแวดล้อมที่เป็นของจริง กระตุ้นความสนใจได้ดีสื่อวัสดุอิเล็กทรอนิกส์1. ความหมายของสื่อวัสดุอิเล็กทรอนิกส์วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ เป็นส่วนหนึ่งของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นการเปลี่ยนรูปแบบการนำเสนอบทเรียนจากเอกสาร ตำรา ให้อยู่ในรูปของสื่อการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์2. ประเภทของสื่อวัสดุอิเล็กทรอนิกส์2.1 เทปบรรทุกเสียง ใช้บันทึกเสียงในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า2.2 เทปวิดีทัศน์ ใช้บันทึกภาพและเสียง2.3 แผ่นซีดี2.4 แผ่นวีซีดี2.5 แผ่นดีวีดี2.6 แผ่นเอสวีซีดี2.7 แผ่นเอ็กซ์วีซีดี2.8 แผ่นเอ็กเอสวีซีดีบทสรุปสื่อประเภทวัสดุ เป็นสื่อที่มีขนาดเล็กสามารถเก็บบรรจุความรู้และประสบการณ์ไว้เป็นอย่างดีบางชนิดสามารถสื่อความหมายหรือถ่ายทอดความรู้ได้ด้วยตนเอง